Sunai Fan Club

Sunai Fan Club
สุนัยแฟนคลับ

วันเสาร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2555

กรณี อู่ตะเภา เฉาะลึก สังคมไทย ไทยฆ่าไทย

คอลัมน์ มติชน 30 มิถุนายน 2555

ไม่ใช่เรื่องอันสร้างความหวาดระแวงให้กับจีน หากไทยยินยอมให้

นาซาเข้ามาใช้สนามบินอู่ตะเภาเพื่อสำรวจภูมิอากาศ

ไม่ใช่

ที่ว่าไม่ใช่ เพราะจีนก็มีประสบการณ์เรื่องนี้อยู่แล้วเป็นอย่างดี ไม่เพียงแต่ยิน ยอมให้ไมโครซอฟท์ไปจัดตั้งสถาบันเพื่อทำงานวิจัยและสร้างนวัตกรรม

หากแต่ในปี 2547 ก็ยินยอมให้นาซาใช้ฮ่องกงเป็นฐานในการบิน

ไม่เพียงแต่บินบริเวณชั้นบรรยากาศเหนือฮ่องกง หากแต่ยังครอบคลุมไปไกลถึงน่านน้ำและน่านฟ้าของญี่ปุ่น

จีนมีประสบการณ์เรื่องนี้อยู่แล้ว

และไม่ใช่เรื่องที่หวั่นเกรงว่านาซาจะเข้าล่วงล้ำน่านน้ำ น่านฟ้า กัมพูชาและสิงคโปร์ อย่างที่ยกมาเอ่ยอ้าง เพราะความหวั่นเกรงอันมาจากหน่วยงานความมั่นคงไม่ว่ากองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ เช่นนี้ ก็กำชับผ่านสหรัฐและนาซาไปแล้ว

และได้รับคำยืนยันจากกัมพูชา สิงคโปร์ ว่าไม่ขัดข้อง

ปัญหาจากจีนจึงเสมอเป็นเพียงการยกขึ้นมาแสดงความวิตก เหมือนกับการยกปัญหาจากสิงคโปร์และกัมพูชาอันเป็นปัญหาที่ไม่ได้มีอยู่ในทางเป็นจริง

เรื่องจริงคือปัญหาไทย



ที่ออกมาประสานเสียงต่อต้าน คัด ค้านอย่างแข็งขัน ยกจีน ยกกัมพูชา ยกสิงคโปร์ ขึ้นมาก็เสมอ
เป็นเพียงน้ำยาบ้วนปาก

แท้จริงก็คือจะค้านรัฐบาล

ทั้งๆ ที่รู้อยู่เป็นอย่างดีว่าปัญหาความมั่นคงเป็นเรื่องไกลตัว เป็นเรื่องเป็นไปไม่ได้หรือเป็นไปได้น้อยมากภายใต้การสำรวจชั้นบรรยากาศ

ยิ่งเรื่องขีปนาวุธยิ่งเลอะเทอะ

เพราะว่าความร่วมมือระหว่างนาซากับองค์กรทางวิชาการของไทยในเรื่องภูมิอากาศทำกันมานานแล้ว

อย่างน้อยความร่วมมือระหว่างศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สตาร์ท) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับนาซาก็ทำร่วมกันมาตั้งแต่ปี 2506

หากมีเจตนาจะล้วงตับก็ไม่เหลืออะไรให้ล้วงแล้ว

น่าเสียดายก็เพียงแต่การประชาสัมพันธ์ของรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อ่อนด้อย น่าเสียดายก็เพียงแต่การประชา สัมพันธ์ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อ่อนด้อย

จึงกลายเป็นเหยื่อ


ปัญหาทั้งหมดอันทำให้โครงการ การศึกษาเมฆและฝุ่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่ประสบความสำเร็จเพราะว่าดำเนินการโดยรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

เรื่องของเมฆจึงกลายเป็นเรื่องการเมือง

เรื่องของชั้นบรรยากาศจึงกลายเป็นการส่งเครื่องบิน ER2 บินสูงกว่า 21 กิโลเมตร เพื่อสำรวจแหล่งพลังงานธรรมชาติให้เชฟรอน

ดึงเชฟรอนสัมพันธ์กับ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

ดึงโครงการซึ่งมีจุดเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2553 ในรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ให้กลายเป็นการต่อรองเรื่องวีซ่าเข้าสหรัฐของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

น่ายินดีที่กองทัพไม่เล่นกับพรรคประชาธิปัตย์

น่ายินดีที่นักวิชาการ ไม่ว่าจะเป็นที่ จิสดา ไม่ว่าจะเป็นที่จุฬาลงกรณ์มหา วิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ไม่ประสานเสียงร้องทำนองเดียวกันกับพรรคประชาธิปัตย์และพันธมิตร

แม้จะได้เสียงหนุนอบอุ่นเพียงนี้ แต่รัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ก็ไปไม่เป็น ไปไม่ถูก

ไปไม่เป็น ไปไม่ถูก เพราะติดฝันร้ายจากพรรคไทยรักไทย ฝันร้ายจากพรรคพลังประชาชน เมื่อเห็นพรรคประชาธิปัตย์และพันธมิตรดาหน้ากันออกมาต้าน

ฝันร้ายว่าจะถูกสอย (อีกแล้ว)


คล้ายกับกรณีสนามบินอู่ตะเภาเป็นเรื่องเก่าๆ เป็นเรื่องคนหน้าเดิม เป็นเหตุผลเดิมๆ ตั้งแต่ปี 2549

กระนั้น กรณีสนามบินอู่ตะเภาก็ทำให้นึกถึงปราสาทพระวิหาร ทำให้มองทะลุไปยังรากเหง้าอันเป็นต้นตอของปัญหาที่สะสมและหมักหมมอยู่อย่างยาวนาน

ไทยฆ่าไทย

ส.ส.สุนัย นำ กมธ. ต่างประเทศ พบประธานศาล ICC




วันที่ 29 มิถุนายน 55 เวลา 13.30 น. ตามเวลาท้องถิ่น ส.ส.สุนัย จุลพงศธร ประธานกรรมาธิการการต่างประเทศ ได้นำคณะกรรมมาธิการการต่างประเทศ เข้าพบนายซง ซาง-ฮยุน (Song Sang-Hyun)ประธานศาลอาญาระหว่างประเทศ และนายมิเชล เดอ สเม็ดต์ (Michel de Smedt)ผู้อำนวยการส่วนงานพิจารณาคดี ของสำนักอัยการซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของศาลอาญาระหว่างประเทศ ที่ศาลอาญาระหว่างประเทศ(International Criminal Court :ICC) ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์

ส.ส.สุนัย กล่าวว่า การพบประธานศาลอาญาระหว่างประเทศ ในครั้งนี้เพื่อเชิญให้เข้าร่วมประชุมเพื่อให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับ กฎหมายและการเข้าเป็นสมาชิกศาลอาญาระหว่าประเทศ ที่คณะกรรมาธิการการต่างประเทศจะจัดขึ้นในช่วงปลายปี พ.ศ.2555 นี้ ศาลอาญาระหว่างประเทศมีอำนาจดำเนินกระบวนพิจารณาคดีที่จำเลยเป็นผู้ถือ สัญชาติของรัฐภาคีแห่งธรรมนูญกรุงโรมฯ ที่ปัจจุบันมีประเทศที่เป็นสมาชิกภาคีทั้งหมก 121 ประเทศ หรือคดีที่อ้างว่าเกิดขึ้นในดินแดนของรัฐภาคี คดีเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติยื่นเรื่องราวมา และต้องเป็นกรณีที่ศาลภายในของรัฐนั้น ๆ ไม่สามารถหรือไม่สมัครใจจะดำเนินคดี

ซึ่งศาลแห่งนี้จะอำนาจชำระคดีสำหรับความผิดอาญาสี่ประเภท คือ ความผิดอาญาฐานล้างเผ่าพันธุ์ (crime of genocide), ความผิดอาญาต่อมนุษยชาติ (crime against humanity), ความผิดอาญาศึก(war crime) และ ความผิดอาญาฐานรุกราน(crime of aggression)  แต่ความผิดอาญาประเภทสุดท้ายยังไม่อยู่ในอำนาจของศาลตามเงื่อนไข ที่ระบุไว้ในธรรมนูญกรุงโรมฯ

ส่วนสำนักงานอัยการศาลอาญาระหว่างประเทศ มีหน้าที่รับผิดชอบงานสืบสวนและงานฟ้องคดี กำหนดให้สำนักงานอัยการมีอิสระในการดำเนินงานของตนเอง ซึ่งสำนักงานอัยการแห่งนี้จะเริ่มสืบสวนคดีได้เมื่อ

1.รัฐภาคียื่นเรื่องขอ ให้มีการไต่สวน

2.คณะมนตรความมั่นคงแห่งสหประชาชาติยื่นเรื่องหรือสถานการณ์ที่อาจเป็นภัย คุกคามสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และ

3.เมื่อองค์คณะตุลาการชั้นไต่สวนมูลฟ้องอนุญาตให้สืบสวนข้อมูลข่าวสารที่ ศาลอาญาระหว่างประเทศได้รับมาจากแหล่งอื่นที่ไม่ใช่หน่วยงานภาครัฐบาลแจ้งมา

ในการพิจารณาคดีแต่ละคดีนั้นศาลอาญาระหว่างประเทศจะไม่สามารถนำคดีที่เกิด ก่อนให้สัตยาบันมาพิจารณาได้ หรือไมสามารถพิจารณาคดีย้อนหลัง การดำเนินการพิจารณาคดีจะทำอย่างโปร่งใสผู้ที่เข้ารับฟังการพิจารณาคดี สามารถเห็นทุกขั้นตอนของการพิจารณาคดี และผู้ที่ต้องขึ้นศาลทั้งโจทก์ จำเลย จะนั่งอยู่ในแนวระนาบเดียวกันโดยไม่หันหน้าเข้าหากันเพื่อไม่ให้เกิดความกด ดันขึ้น และนอกจากนี้ยังมีระบบคุ้มครองพยายานด้วย

------ คำแปล หนังสือถึง ประธานศาลอาญาระหว่างประเทศ ------

                                                                                                สภาผู้แทนราษฎร
21 มิถุนายน พ.ศ. 2555
กราบเรียน ฯพณฯ ซาง ฮุน ซอง
              ประธานศาลอาญาระหว่างประเทศ
            ข้าพเจ้าใคร่ขออ้างถึงการเข้าพบกับ ฯพณฯ ฮานส์ ปีเตอร์ กุล รองประธานศาลอาญาระหว่างประเทศ ในเดือน ธันวาคม 2011 โดยคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ของประเทศไทย ได้รับเชิญให้เข้าเยี่ยมชมศาล ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์
          ข้าพเจ้าในฐานะประธานกรรมาธิการการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ได้ปรึกษาร่วมกับคณะกรรมาธิการท่านอื่นๆ และได้มีมติร่วมกันว่า จะจัดให้มีการเยือนศาล ในเดือนมิถุนายน 2012  โดย   ในระหว่างการเยือนนั้น คณะกรรมาธิการยังมีความประสงค์ที่จะเข้าเยี่ยมคาราวะ และเรียนเชิญ ฯพณฯ เข้าร่วมงานเสวนาทางวิชาการ ซึ่งจะจัดขึ้นในประเทศไทย โดยเพื่อเป็นการให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับประโยชน์ที่จะได้รับจากการเป็นสมาชิกของศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะกรรมาธิการมีความยินดีอย่างยิ่งที่จะสนับสนุนให้มีการลงสัตยาบันในสนธิสัญญากรุงโรม ในฐานะที่เป็นกลไกที่จะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดความรุนแรง และก่ออาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติในประเทศไทยอีก ด้วยเหตุนี้ ข้าพเจ้าจึงขอเรียนเชิญ ฯพณฯ เข้าร่วมงานเสวนาดังกล่าวด้วยตัวข้าพเจ้าเอง โดยงานเสวนากำหนดจัดขึ้นประมาณปลายปีนี้ ทั้งนี้ รายละเอียดต่างๆ จะได้เรียนให้ ฯพณฯ ทราบโดยเร็วหลังจากได้ข้อสรุปแล้วอีกครั้ง
            ในการนี้ ข้าพเจ้าใคร่ขออนุญาตเข้าพบ ฯพณฯ ในวันที่ 29 มิถุนายน 2012 ในเวลา 13.30 น. หรือตามเวลาที่ ฯพณฯ จักสะดวก โดยจะมีการประสานงานอย่างใกล้ชิดผ่านสถานเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงเฮก อีกครั้ง
            ขอแสดงความเคารพอย่างสูง

                                                                                        (นายสุนัย จุลพงศธร)
                                                                   ประธานกรรมาธิการการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร




------ คำแปล หนังสือถึง หัวหน้าอัยการ ศาลอาญาระหว่างประเทศ ------
                                                           
                                                สภาผู้แทนราษฎร
21 มิถุนายน พ.ศ. 2555
กราบเรียน ฯพณฯ ฟาตัว เบนโซดา
                หัวหน้าอัยการ ศาลอาญาระหว่างประเทศ กรุงเฮก
          ในฐานะประธานกรรมาธิการการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ข้าพเจ้ารู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่จะแสดงความยินดีกับ ฯพณฯ ในโอกาสที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าอัยการ ของศาลอาญาระหว่างประเทศ
            ในการนี้ ข้าพเจ้าใคร่ขออ้างถึงจดหมาย ลงวันที่ 9 ธันวาคม 2011 ซึ่งได้มอบให้ ฯพณฯ หลุยส์   โมเรโน โอคัมโป ซึ่งได้ขอให้ ฯพณฯ เปิดทำการไต่สวนในคดี ความรุนแรงในฐานะอาชญากรรมที่กระทำต่อมนุษยชาติ ที่ได้อุบัติขึ้นในกรุงเทพ ประเทศไทย โดยได้แนบจดหมายนั้นมาด้วยกับหนังสือฉบับนี้
            ต่อเนื่องจากเหตุการณ์ดังกล่าว ข้าพเจ้าได้ปรึกษาร่วมกับคณะกรรมาธิการท่านอื่นๆ และได้มีมติร่วมกันว่า จะจัดให้มีการเยือนศาล ในเดือนมิถุนายน 2012 โดยในระหว่างการเยือนนั้น คณะกรรมาธิการยังมีความประสงค์ที่จะเข้าเยี่ยมคาราวะ และเรียนเชิญ ฯพณฯ เข้าร่วมงานเสวนาทางวิชาการ ซึ่งจะจัดขึ้นในประเทศไทย โดยเพื่อเป็นการให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับประโยชน์ที่จะได้รับจากการเป็นสมาชิกของศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะกรรมาธิการมีความยินดีอย่างยิ่งที่จะสนับสนุนให้มีการลงสัตยาบันในสนธิสัญญากรุงโรม ในฐานะที่เป็นกลไกที่จะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดความรุนแรง และก่ออาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติในประเทศไทยอีก ด้วยเหตุนี้ ข้าพเจ้าจึงขอเรียนเชิญ ฯพณฯ เข้าร่วมงานเสวนาดังกล่าวด้วย   ตัวข้าพเจ้าเอง โดยงานเสวนากำหนดจัดขึ้นประมาณปลายปีนี้ ทั้งนี้ รายละเอียดต่างๆ จะได้เรียนให้ ฯพณฯ ทราบโดยเร็วหลังจากได้ข้อสรุปแล้วอีกครั้ง
            ในการนี้ ข้าพเจ้าใคร่ขออนุญาตเข้าพบ ฯพณฯ ในวันที่ 29 มิถุนายน 2012 ในเวลา 13.30 น. หรือตามเวลาที่ ฯพณฯ จักสะดวก โดยจะมีการประสานงานอย่างใกล้ชิดผ่านสถานเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงเฮก อีกครั้ง
            ขอแสดงความเคารพอย่างสูง

                                                                                        (นายสุนัย จุลพงศธร)
                                                                  ประธานกรรมาธิการการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร

วันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2555

อำมาตย์ ปีย์ คนมีเส้น

ข่าวเจาะลึก
เรื่องจาก REDPOWER ฉบับ 26 เดือน มิถุนายน 55



บทพิสูจน์อีกบทหนึ่งที่ยืนยันว่าคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ที่พวกอำมาตย์ชอบบ่นถึงวันละ 3 เวลาหลังอาหาร เนื้อแท้ก็ไม่ต่างอะไรกับบทสวดมนต์ของพวกอลัชชีที่มีแต่สวดแต่เนื้อแท้ชอบดวดเหล้า

นายปีย์ เชื้อสายอำมาตย์ผู้เอาการเอางานเคยรับใบสั่งงานมาประสานบิ๊คทุกสายทั้งพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ,ประธานศาลฎีกา ชาญชัย ลิขิตจิตถะ และประธานศาลปกครอง อัคราธร จุฬารัตน์ , พลเอกพัลลภ ปิ่นมณี ให้มาประชุมวางแผนเตรียมการรัฐประหารที่บ้านของตนบนถนนสุขุมวิท ด้วยเหตุผลรัฐบาลทักษิณไม่มีคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล จนเกิดการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 แต่เมื่อเจาะเข้าวิถีชีวิตประจำวันก็ชัดเจนว่า นายปีย์ ก็ได้ทำการสวดมนต์แปลงบทธรรมาภิบาลกลายเป็น ทำนาประชากบาลคือทำนาบนหัวประชาชน ด้วยเส้นใหญ่ใช้ตำรวจ สน.เชียงราย 2 นายให้เฝ้าบ้านส่วนตัวที่จังหวัดเชียงรายคล้ายกับองครักษ์ ผู้บังคับบัญชาเขาจะสลับสับเปลี่ยนตัวบ้างก็ยังไม่ได้ , ล่าสุดมีการเปลี่ยนตัวตำรวจที่ไปเฝ้าบ้าน พระคุณเจ้าท่านก็โทรสายตรงไปถึงตำรวจใหญ่สาย ปชป.ผู้กำกับ สน.เลยถูกล่อต้องรีบเอา 2 พระหน่อตำรวจเจ้าเดิมกลับมาเฝ้าบ้านดังเดิม

คุณปีย์ มีตำแหน่งอะไรทางราชการหรือ?ถึงได้มีอำนาจที่จะบริโภคภาษีเป็นกรณีพิเศษคล้ายๆกับป๋าอยู่บ้านพักสี่เสาที่ไม่ต้องเช่า ไม่ต้องจ่ายค่าน้ำค่าไฟ ทั้งๆที่เกษียณอายุราชการแล้ว หรือว่ามีตำแหน่งตลกหลวงที่คอยจัดเตรียมงานปรนเปรอให้ท่านเธอทั้งหลายได้หัวร่อต่อกระสิกยามเล่นไพ่กันกับท้าวเธอเล่าเจ๊าค๊ะ

ส.ส.สุนัย พา กมธ.ต่างประเทศ เยี่ยมศึกษาดูงาน “สภายุโรป”

โดยทีมข่าวสุนัยแฟนคลับ


ส.ส.สุนัย นำคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ เข้างานเจรจาศึกษาแลกเปลี่ยนความเห็นกับคณะกรรมาธิการของสภายุโรป 

สหภาพยุโปมีชาติสมาชิกรวมทั้งสิ้น 27 ประเทศ จากเดิมซึ่งมีสมาชิกเพียง 6 ประเทศ สหภาพยุโรป ได้รับรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยหลายครั้ง คือ ปีพ.ศ. 2516 (ค.ศ.1973) เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร ปี 1981 กรีซ ปี 1986 สเปนและโปรตุเกส ปี 1995 ออสเตรีย ฟินแลนด์ สวีเดน และล่าสุดปีพ.ศ. 2547 (ค.ศ.2004) ถือเป็นการขยายจำนวนสมาชิกครั้งใหญ่ที่สุดถึง 10 ประเทศ คือ ไซปรัส สาธารณรัฐเช็ค เอสโตเนีย ฮังการี ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลต้า โปแลนด์ สาธารณรัฐสโลวัก และสลีวีเนีย และเมื่อ ค.ศ.2007 รับเพิ่มอีก 2 ประเทศ รวมทั้งสิ้น 27 ประเทศ สมาชิกใหม่คือ บัลแกเรีย และโรมาเนีย เห็นดาวในธงมี 15 ดวง เป็นสัญลักษณ์ของ 15 ชาติ แต่ถ้าเพิ่มเป็น 27 ประเทศแล้วทำไงดีล่ะ ธงคงจะลายด้วยดาวเป็นแน่

รู้จักกับสหภาพยุโรป

1.    การจัดโครงสร้างสหภาพยุโรปถือว่าเป็นพัฒนาการก้าวสำคัญก้าวหนึ่งของมนุษยชาติที่ไม่เคยมีมาก่อนในโลก นับจากที่ อเมริกาซึ่งเป็นการอพยพเพื่อหา อาณานิคมใหม่ซึ่งรวมหลายเชื่อชาติหลายภาษาเข้าอยู่ด้วยกันและเรียนรู้ที่จะอยู่ด้วยกันสร้างประเทศใหม่ชื่อว่าสหรัฐอเมริกา  แต่สหภาพยุโรปเป็นพัฒนาการของการรวมตัวของรัฐ ซึ่งแต่ละรัฐมีรากเหง้าที่เก่าแก่และยาวนานมากบางประเทศเจริญมาแล้วกว่าสามพันปี  ก็สามารถอยู่ร่วมกันได้บนความแตกต่างของ เชื่อชาติ,ภาษาและประวัติศาสตร์ เป็นสหภาพยุโรปได้โดยไม่ต้องกลัวสงครามระหว่างรัฐอีกต่อไป

2.   การปกครอง

แม้สหภาพยุโรปจะเป็นการรวมกลุ่มของรัฐหรือเป็นองค์การระหว่างประเทศ แต่โครงสร้างของสหภาพยุโรปนั้นมีลักษณะ เหนือชาติ” (supranational trait) อย่างชัดเจน ที่กล่าวเช่นนี้เพราะบรรดารัฐสมาชิกไม่เพียงรวมตัวกันเท่านั้น หากยังร่วมสร้างสรรค์สถาบันหรือหน่วยงานภายใน ซึ่งมีอำนาจเหนือรัฐสมาชิกรัฐใดรัฐหนึ่งโดยเฉพาะ อันประกอบไปด้วย สภายุโรป คณะมนตรี คณะกรรมาธิการ และศาลยุติธรรม ดังรายละเอียดต่อไปนี้



 สมาชิกสภายุโรปได้รับเลือกตั้งโดยตรงทุก ๆ 5 ปีจากแต่ละประเทศสมาชิก ปัจจุบันมีสมาชิก 732 คนจาก 27 ประเทศ โดยในจำนวนนี้เป็นผู้หญิงเกือบหนึ่งในสาม (222 คน) แม้สมาชิกแต่ละคนจะมาจากรัฐสมาชิก แต่การจัดกลุ่มภายในรัฐสภานั้นไม่ได้แบ่งตามสัญชาติ แต่แบ่งโดยทิศทางของพรรคการเมือง กลุ่มที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ พรรคประชาชนยุโรป (European’s People Party) และพรรคประชาธิปไตยยุโรป (European Democrats) ตามมาด้วยกลุ่มสังคมนิยม เสรีนิยม และอนุรักษ์ธรรมชาตินิยม (กรีน) ที่ทำการสภายุโรปตั้งอยู่ในสองเมืองคือ สทราซบูร์ (Strasbourg) ประเทศฝรั่งเศส และบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม โดยประธานสภาคนปัจจุบันคือ Hans Gert Pottering ชาวเยอรมัน

ภารกิจหลักของสภายุโรปจะเป็นการร่วมตัดสินใจกับคณะมนตรีในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ การพิจารณาร่างกฎหมายของสหภาพซึ่งริเริ่มโดยคณะกรรมาธิการ การอนุมัติงบประมาณของสหภาพยุโรป ให้การรับรองความตกลงระหว่างประเทศของสหภาพยุโรปกับประเทศนอกกลุ่ม และที่สำคัญที่สุดคือการให้การรับรองผู้ดำรงตำแหน่งในคณะกรรมาธิการยุโรป

 คณะมนตรียุโรป

สมาชิกคณะมนตรี ประกอบด้วยรัฐมนตรี หรือผู้แทนรัฐบาลจากทุกประเทศสมาชิก ในการประชุมแต่ละครั้งจะมีรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบเรื่องนั้น ๆ เข้าร่วม รวมทั้งสิ้น 27 คน เช่น การต่างประเทศ เกษตรกรรม คมนาคม เศรษฐกิจและการเงิน และพลังงาน เป็นต้น หากเป็นการประชุมตัดสินใจประเด็นสำคัญ ๆ ก็จะเป็นการประชุมในระดับประมุขของประเทศ โดยจะมีการประชุมสุดยอดสี่ครั้งต่อปีเพื่อกำหนดทิศทางนโยบายของสหภาพยุโรป แต่ละประเทศจะมีเสียงโหวตแตกต่างกันตามสัดส่วนจำนวนประชากร การตัดสินใจส่วนใหญ่ใช้แบบเสียงข้างมาก ในขณะที่ประเด็นสำคัญจะใช้ระบบการโหวตแบบเอกฉันท์

คณะมนตรีถือเป็นองค์กรหลักในด้านนิติบัญญัติและด้านการตัดสินใจชี้ขาดของสหภาพยุโรป โดยจะประสานงานกับรัฐสภาในการพิจารณาร่างกฎหมายดังได้กล่าวแล้ว นอกจากนั้นยังเป็นผู้รับผิดชอบด้านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วมกัน (CFSP: Common Foreign and Security Policy) รวมถึงภารกิจเกี่ยวกับการเปิดเสรีสินค้า บริการ เงินทุน รวมถึงประชาชนด้วย

 คณะกรรมาธิการยุโรป

คณะกรรมาธิการเป็นตัวแทนและปกป้องผลประโยชน์ของสหภาพยุโรป โดยเป็นอิสระจากรัฐบาลของแต่ละชาติ คณะกรรมาธิการประกอบด้วยกรรมาธิกร 27 คนจากแต่ละประเทศสมาชิกตามความเชี่ยวชาญโดยจะทำงานร่วมกับข้ารัฐการราว 24,000 คน มีสำนักงานอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม ประธานคณะกรรมาธิการจะได้รับการเลือกจากรัฐบาลของประเทศสมาชิกและจะต้องได้รับการรับรองจากสภา ส่วนกรรมาธิการคนอื่น ๆ จะได้รับการแต่งตั้งจากรัฐสมาชิกและต้องได้รับการรับรองจากสภาเช่นกัน มีวาระคราวละ 5 ปี โดยประธานคณะกรรมาธิการคนปัจจุบันคือ นายโฮเซ มานูเอล ดูเรา บาร์โรโซ (José Manuel Durao Barroso) ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของโปรตุเกสด้วย

ภารกิจหลักของคณะกรรมาธิการคือการเสนอร่างกฎหมาย นอกจากนั้นยังดูแลการบริหารงบประมาณของสหภาพยุโรป กรรมาธิการแต่ละคนมีหน้าที่รับผิดชอบคนละด้าน แต่ละคนมีเจ้าหน้าที่และองค์กรย่อยอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของตน เปรียบเทียบได้ว่ากรรมาธิการแต่ละคนคือรัฐมนตรีซึ่งต้องดูแลกระทรวง ทบวง กรมของตนนั่นเอง

 ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป

องค์คณะผู้พิพากษาประกอบด้วยผู้พิพากษาจากแต่ละประเทศสมาชิกรวม 27 คน มีสำนักงานอยู่ที่ประเทศลักเซมเบิร์ก หน้าที่หลักของศาลคือการบังคับใช้ และการตีความกฎหมายเพื่อพิจารณาและชี้ขาดว่ากฎหมายของสหภาพยุโรปได้รับการปรับใช้เหมือนกันในทุกประเทศสมาชิกหรือไม่ พลเมืองของสหภาพยุโรปสามารถยื่นเรื่องฟ้องต่อศาลได้หากสถาบันต่าง ๆ ของสหภาพยุโรปได้ในกรณีกระทำการผิดกฎหมาย

 สิ่งที่คนไทยควรศึกษาและน่าสนใจคือการรวมตัวกันกับรัฐ 27 รัฐ และมีความต่างทางภาษาถึง 23 ภาษาแต่ก็สามารถรวมกันได้โดยที่ไม่ทะเลาะกัน แต่คนไทยทั้งภาษาพูดภาษาเขียนเป็นภาษาเดียวกัน แต่กลับคุยกันไม่รู้เรื่องน่าเสียดายการพัฒนาประเทศ

วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2555

2475 ของแดง 2490 ของเหลือง

โดย ใบตองแห้ง
voice tv bloger



ถ้ามีใครไปบอก "พี่เนาว์" เนาวรัตน์พงษ์ไพบูลย์ศิลปินแห่งชาติว่า "พี่กลายเป็นพวกหนับหนุนรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ไปแล้วรู้ตัวหรือเปล่า" พี่เนาว์คงโกรธแบบไม่เผาผีไม่คบหากันชั่วชีวิตนี้

ทำนองเดียวกับพี่พิภพ ธงไชย, สุริยะใส กตะศิลา, สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์, สมศักดิ์ โกศัยสุข, รสนา โตสิตระกูล, สันติสุข โสภณศิริ, หมอพลเดช ปิ่นประทีป ฯลฯ พวกที่เคยอยู่ใน ภาคประชาสังคมมาก่อน พวกที่เคยทำมูลนิธิ องค์กรพัฒนาเอกชน ไม่ว่าจะอยู่ในเครือข่ายหมอประเวศ เครือข่าย ส.ศิวรักษ์ (ซึ่งมักทับซ้อนกัน) หรือผู้นำยุค 14 ตุลา อย่างธีรยุทธ บุญมี, จีรนันท์ พิตรปรีชา (ไม่อยากนับสมบัติ ธำรงธัญญวงศ์) ทำนองเดียวกับพี่พิภพธงไชย, สุริยะใส กตะศิลา, สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์, สมศักดิ์ โกศัยสุข, รสนา โตสิตระกูล, สันติสุข โสภณศิริ, หมอพลเดช ปิ่นประทีป ฯลฯ พวกที่เคยอยู่ใน "ภาคประชา สังคม " มาก่อนพวกที่เคยทำมูลนิธิองค์กรพัฒนาเอกชนไม่ว่าจะอยู่ในเครือข่ายหมอประเวศเครือข่าย ส.ศิวรักษ์ (ซึ่งมักทับซ้อนกัน) หรือผู้นำยุค 14 ตุลาอย่าง ธีรยุทธ บุญมี, จีรนันท์ พิตรปรีชา (ไม่อยากนับสมบัติธำรงธัญญวงศ์)
คนเหล่านี้ล้วนเคยยกย่องเชิดชู อ.ปรีดี พนมยงค์ คณะราษฎร และการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 มาทั้งสิ้น คนเหล่านี้ล้วนเคยยกย่องเชิดชู อ.ปรีดี พนมยงค์ คณะราษฎรและการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 มาทั้งสิ้น

แต่ผ่านความขัดแย้งทางการเมืองมา 6 ปี ตั้งแต่เรียกร้อง ม.7 มาจนสนับสนุนรัฐประหาร ยืนอยู่ข้างพวกที่ใช้วาทกรรม พระราชอำนาจและ ผังล้มเจ้าปราบปรามผู้มีความเห็นต่าง (ท่านทั้งหลายอาจไม่ได้พูดเอง แต่ยืนข้างๆ แต่ผ่านความขัดแย้งทางการเมืองมา 6 ปีตั้งแต่เรียกร้องม .7 มาจนสนับสนุนรัฐประหารยืนอยู่ข้างพวกที่ใช้วาทกรรม "พระราชอำนาจ" และ "ผังล้มเจ้า" ปราบปรามผู้มีความเห็นต่าง (ท่านทั้งหลายอาจไม่ได้ พูดเอง แต่ยืนข้างๆ กระทั่งต่อต้านการแก้ไขมาตรา 112 กระทั่งต่อต้านการแก้ไขมาตรา 112

จะทันรู้ตัวหรือไม่รู้ จะทันรู้ตัวหรือไม่รู้ 2490 ผู้ล้มล้าง อ.ปรีดีไปเสียแล้ว 2490 ผู้ล้มล้างอ. ปรีดีไปเสียแล้ว

ขณะที่เสื้อแดงแย่งยึดเอา 24 มิถุนายน 2475 ไปครอบครอง ขณะที่เสื้อแดงแย่งยึดเอา 24 มิถุนายน 2475 ไปครอบครอง เพราะพูดอะไรออกมา ก็ไม่ตรงกับอุดมการณ์ของคณะราษฎร เช่น เพราะพูดอะไรออกมาก็ไม่ตรงกับอุดมการณ์ของคณะราษฎรเช่น แบบนี้ ดวงวิญญาณ แบบนี้ดวงวิญญาณ อ.ปรีดี ก็ร้องกรี๊ดสะใจในโรงหนัง) อ. ปรีดีก็ร้องกรี๊ดสะใจในโรงหนัง)

มีรายเดียว ที่บังเอิ๊ญ มีรายเดียวที่บังเอิ๊ญ ต้องวนกลับมาย่ำรอยบรรพบุรุษตัวเอง คืออาจารย์โต้ง (ฮาไม่ออก) ต้องวนกลับมาย่ำรอยบรรพบุรุษตัวเองคืออาจารย์โต้ง (ฮาไม่ออก)

ทางแยกที่เด่นชัด ทางแยกที่เด่นชัด
24 มิถุนายน ก็ไม่ต่างจาก 6 ตุลา 2519 ที่กลายเป็นของเสื้อแดงไปแล้ว แต่ 14 ตุลา 24 มิถุนายนก็ไม่ต่างจาก 6 ตุลา 2519 ที่กลายเป็นของเสื้อแดงไปแล้ว แต่ 14 ตุลา เพราะตอนเรียกร้องรัฐธรรมนูญ ธีรยุทธ บุญมี เพราะตอนเรียกร้องรัฐธรรมนูญธีรยุทธ บุญมี 7 ที่ว่า 7 ที่ว่า

คณะใด โดยฉะเพาะ เพื่อใช้อำนาจนั้นโดยสิทธิขาด คณะใดโดยเฉพาะเพื่อใช้อำนาจนั้นโดยสิทธิขาด

ซึ่งต่อมา สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ซึ่งต่อมาสมศักดิ์เจียมธีรสกุล เพราะพระราชหัตถเลขา ร.7 มีขึ้นในตอนที่ทรงสละราชสมบัติ ภายหลังขัดแย้งกับคณะราษฎร เพราะพระราชหัตถเลขา ร .7 มีขึ้นในตอนที่ทรงสละราชสมบัติภายหลังขัดแย้งกับคณะราษฎร เดิมทีเดียว ร.7 เดิมทีเดียว ร .7 จึงต้องทรงสละราชย์จริงๆ อย่างไรก็ตาม จึงต้องทรงสละราชย์จริงๆอย่างไรก็ตาม ร.7 ร .7

พระราชหัตถเลขาจึงกลายเป็น พระราชหัตถเลขาจึงกลายเป็น แต่ต่อมากลับกลายเป็น วรรคทอง แต่ต่อมากลับกลายเป็น "วรรคทอง"

จากนั้น เราก็มั่วนิ่มทำซึ้งกันมาตลอด ทั้งที่ ร.7 ไม่ได้ เต็มใจสละอำนาจซักหน่อย ท่านถูกคณะราษฎรยึดอำนาจต่างหาก จากนั้นเราก็มั่วนิ่มทำซึ้งกันมาตลอดทั้งที่ ร .7 ไม่ได้ "เต็มใจสละอำนาจ" ซักหน่อยท่านถูกคณะราษฎรยึดอำนาจต่างหาก

เพราะโดยบริบทของสังคมในปี 2516 เพราะโดยบริบทของสังคมในปี 2516

2543 ระหว่างงานฉลอง 100 ปีปรีดี พนมยงค์ ที่ธรรมศาสตร์ พี่เนาว์อ่านบทกวีสดุดีปรีดี โดยมีสไลด์ประกอบ 2543 ระหว่างงานฉลอง 100 ปี ปรีดีพนมยงค์ที่ธรรมศาสตร์พี่เนาว์อ่านบทกวีสดุดีปรีดีโดยมีสไลด์ประกอบ

มานึกย้อนดู มานึกย้อนดู 14 ตุลา ก็เป็นพวกที่ไม่ค่อยศึกษาทฤษฎี ไม่ค่อยศึกษาประวัติศาสตร์ 14 ตุลาก็เป็นพวกที่ไม่ค่อยศึกษาทฤษฎีไม่ค่อยศึกษาประวัติศาสตร์ สมัยนั้นยังมองชัยอนันต์ สมุทวณิช เป็นพวกก้าวหน้าอยู่เลย สมัยนั้นยังมอง ชัยอนันต์ สมุทวณิช เป็นพวกก้าวหน้าอยู่เลย อ้างว่า ร.7 อ้างว่า ร .7 แต่คณะราษฎรชิงลงมือทำ รัฐประหารก่อน และว่า 2475 เป็นการกระทำของ ชนชั้นนำโดยประชาชนไม่มีส่วนร่วม แต่คณะราษฎรชิงลงมือทำ "รัฐประหาร" ก่อนและว่า 2475 เป็นการกระทำของ "ชนชั้นนำ" โดยประชาชนไม่มีส่วนร่วม

สรุปว่าชัยอนันต์ ซึ่งเขียนเรื่อง ราชประชาสมาสัยไว้ตั้งแต่ 40 ปีก่อน เป็นคนที่ไม่ได้เปลี่ยนจุดยืน น่านับถือ น่านับถือ สรุปว่าชัยอนันต์ซึ่งเขียนเรื่อง "ราชประชาสมาสัย" ไว้ตั้งแต่ 40 ปีก่อนเป็นคนที่ไม่ได้เปลี่ยนจุดยืนน่านับถือน่านับถือ

14 ตุลา และพฤษภา 35 คือเราอยู่ในส่วนของเรา ยึดมั่นอุดมการณ์ประชาธิปไตย ไม่ได้สนใจอุดมการณ์กษัตริย์นิยม โดยเฉพาะเมื่ออุดมการณ์นี้ 14 ตุลาและพฤษภา 35 คือเราอยู่ในส่วนของเรายึดมั่นอุดมการณ์ประชาธิปไตยไม่ได้สนใจอุดมการณ์กษัตริย์นิยมโดยเฉพาะเมื่ออุดมการณ์นี้ เมื่อ 6 ตุลา 2519 เมื่อ 6 ตุลา 2519

แต่เมื่อฟังธงชัย วินิจจะกูล วิเคราะห์ย้อนหลังว่า ประชาธิปไตยแบบอำมาตย์เกิดขึ้นพร้อม 14 ตุลา ก็ไม่แปลกใจและเห็นด้วย แต่เมื่อฟัง ธงชัย วินิจจะกูล วิเคราะห์ย้อนหลังว่า "ประชาธิปไตยแบบอำมาตย์" เกิดขึ้นพร้อม 14 ตุลาก็ไม่แปลกใจและเห็นด้วย ที่ปกครองประเทศมายาวนาน แม้กองทัพ โดยเฉพาะยุคสฤษดิ์ จะเชิดชูอุดมการณ์กษัตริย์นิยม ที่ปกครองประเทศมายาวนานแม้กองทัพโดยเฉพาะยุค สฤษดิ์ จะเชิดชูอุดมการณ์กษัตริย์นิยม จนกระทั่งกองทัพถูกโค่นไปเมื่อ 14 ตุลา 2516 จนกระทั่งกองทัพถูกโค่นไปเมื่อ 14 ตุลา 2516 6 ตุลา พร้อมกับสถาปนาระบอบเผด็จการ "รัฐบาลหอย" 6 ตุลาพร้อมกับสถาปนาระบอบเผด็จการ "รัฐบาลหอย" พวกอุดมการณ์กษัตริย์นิยมสายกลาง ก็ทำรัฐประหารโค่นรัฐบาลหอย พวกอุดมการณ์กษัตริย์นิยมสายกลางก็ทำรัฐประหารโค่นรัฐบาลหอย 8 ปีของพลเอกเปรม 8 ปีของพลเอกเปรม

ซึ่งกล่าวได้ว่า 8 ซึ่งกล่าวได้ว่า 8 มีการเลือกตั้ง กับอำนาจที่แท้จริงของอำมาตย์ ซึ่งชูอุดมการณ์กษัตริย์นิยม มีการเลือกตั้งกับอำนาจที่แท้จริงของอำมาตย์ซึ่งชูอุดมการณ์กษัตริย์นิยม

จากทศวรรษ 2520 เป็นต้นมา จากทศวรรษ 2520 เป็นต้นมา 112 ของคณะปฏิรูป 6 ตุลา 2519 เรื่องน่าประหลาดใจคือ ในเวลาต่อมา แม้ความจริงเรื่อง 6 ตุลา 2519 จะได้รับการตีแผ่ 112 ของคณะปฏิรูป 6 ตุลา 2519 เรื่องน่าประหลาดใจคือในเวลาต่อมาแม้ความจริงเรื่อง 6 ตุลา 2519 จะได้รับการตีแผ่ และแม้ในช่วงทศวรรษ 2520 และแม้ในช่วงทศวรรษ 2520 อ.ปรีดีและคณะราษฎร อ. ปรีดีและคณะราษฎร

40-45 40-45 6 ตุลาถูกลบไปเรียบร้อยแล้ว 6 ตุลาถูกลบไปเรียบร้อยแล้ว เติบโตมาเป็นอย่างคุณหมอตุลย์ มีส่วนน้อยคือพวกทำกิจกรรม พวกที่อยู่ในวงวิชาการ ภาคประชาสังคม ที่ชื่นชม อ.ปรีดี (เน้นว่า อ.ปรีดี ไม่ใช่คณะราษฎรทั้งหมด) แต่คนที่พูดอย่างจริงจังถึงการที่ เติบโตมาเป็นอย่างคุณหมอตุลย์มีส่วนน้อยคือพวกทำกิจกรรมพวกที่อยู่ในวงวิชาการภาคประชาสังคมที่ชื่นชม อ.ปรีดี (เน้นว่าอ. ปรีดีไม่ใช่คณะราษฎรทั้งหมด) แต่คนที่พูดอย่างจริงจังถึงการที่ ก็มีจำนวนน้อยนิด ก็มีจำนวนน้อยนิด

จนกระทั่งมาถึงทางแยกของอุดมการณ์ ในการขับไล่ทักษิณ จนกระทั่งมาถึงทางแยกของอุดมการณ์ในการขับไล่ทักษิณ พอจนปัญญาที่จะโค่นล้มทักษิณ ผู้มาจากการเลือกตั้ง ก็หันไปอ้างอุดมการณ์กษัตริย์นิม อุดมการณ์ราชาชาตินิยม ปลุกมวลชนให้คลั่งชาติ คลั่งเจ้า ตั้งแต่ขอ ม.7 นายกพระราชทาน สนับสนุนรัฐประหาร บิดเบือนเรื่องปราสาทพระวิหาร จนกระทั่ง ผังล้มเจ้า พอจนปัญญาที่จะโค่นล้มทักษิณผู้มาจากการเลือกตั้งก็หันไปอ้างอุดมการณ์กษัตริย์นิมอุดมการณ์ราชาชาตินิยมปลุกมวลชนให้คลั่งชาติคลั่งเจ้าตั้งแต่ขอม .7 นายกพระราชทานสนับสนุนรัฐประหารบิดเบือนเรื่องปราสาทพระวิหารจนกระทั่ง "ผังล้มเจ้า "

ถึงวันนี้ จะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว พวกเขาก็กลายเป็น ฝ่ายขวาไปเรียบร้อยแล้ว ถึงวันนี้จะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวพวกเขาก็กลายเป็น "ฝ่ายขวา" ไปเรียบร้อยแล้ว

อุดมการณ์ 2475 อุดมการณ์ 2475

อุดมการณ์ของคณะราษฎร เขียนไว้ชัดเจนในคำประกาศ และรัฐธรรมนูญ 2475 ฉบับแรก ที่เรียกว่า อุดมการณ์ของคณะราษฎรเขียนไว้ชัดเจนในคำประกาศและรัฐธรรมนูญ 2475 ฉบับแรกที่เรียกว่า พุทธศักราช 2475 พุทธศักราช 2475 "

พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการดำรัสเหนือเกล้าฯ สั่งว่า พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการดำรัสเหนือเกล้าฯสั่งว่า จึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ

ชัดเจนนะครับ ชัดเจนนะครับ แต่ล้มระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งพระมหากษัตริย์มี 2 สถานะคือ หนึ่ง เป็นองค์พระประมุข และสอง เป็นผู้มีอำนาจสูงสุด แต่ล้มระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ซึ่งพระมหากษัตริย์มี 2 สถานะคือหนึ่งเป็นองค์พระประมุขและสองเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด ไม่พอใจ ถูกวิจารณ์ ถูกต่อต้าน ถูกติฉินนินทา และลงมาอยู่ ใต้รัฐธรรมนูญ ไม่พอใจถูกวิจารณ์ถูกต่อต้านถูกติฉินนินทาและลงมาอยู่ "ใต้รัฐธรรมนูญ"

ก่อน 2475 รัชกาลที่ 7 ก่อน 2475 รัชกาลที่ 7 ถูกวิจารณ์ถูกต่อต้านเพียงไร โดยเฉพาะเมื่อเศรษฐกิจตกต่ำ แล้วรัฐบาลแก้ไขปัญหาไม่ได้ เพราะความเทอะทะ ไร้ประสิทธิภาพ และเหลื่อมล้ำในระบบ ถูกวิจารณ์ถูกต่อต้านเพียงไรโดยเฉพาะเมื่อเศรษฐกิจตกต่ำแล้วรัฐบาลแก้ไขปัญหาไม่ได้เพราะความเทอะทะไร้ประสิทธิภาพและเหลื่อมล้ำในระบบ

คณะราษฎรอาจจะชิงสุกก่อนห่าม คณะราษฎรอาจจะชิงสุกก่อนห่าม แล้วจะเกิดอะไรขึ้น แล้วจะเกิดอะไรขึ้น

มองอีกมุมหนึ่ง มองอีกมุมหนึ่ง

รัฐธรรมนูญ 2475 ประกาศอุดมการณ์ประชาธิปไตย ตั้งแต่มาตรา 1 รัฐธรรมนูญ 2475 ประกาศอุดมการณ์ประชาธิปไตยตั้งแต่มาตรา 1 มาไม่เคยใช้ถ้อยคำอย่างนี้อีก มาไม่เคยใช้ถ้อยคำอย่างนี้อีก

ขณะเดียวกัน มาตรา 3 ขณะเดียวกันมาตรา 3 พระราชบัญญัติก็ดี คำวินิจฉัยของศาลก็ดี การอื่นๆ พระราชบัญญัติก็ดีคำวินิจฉัยของศาลก็ดีการอื่น ๆ จะต้องกระทำในนามของกษัตริย์ จะต้องกระทำในนามของกษัตริย์ "

โดยมีมาตรา 7 กำกับไว้ว่า การกระทำใดๆ โดยมีมาตรา 7 กำกับไว้ว่า "การกระทำใด ๆ มิฉะนั้นเป็นโมฆะ มิฉะนั้นเป็นโมฆะ "

ตามมติคณะรัฐมนตรีนั่นแหละครับ ตามมติคณะรัฐมนตรีนั่นแหละครับ

รัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม 2475 มีการ ปรองดองระหว่าง ร.7 กับคณะราษฎร โดยเทิดพระเกียรติเป็นการ พระราชทานรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม 2475 มีการ "ปรองดอง" ระหว่างร .7 กับคณะราษฎรโดยเทิดพระเกียรติเป็นการ "พระราชทานรัฐธรรมนูญ" 4-5 ย่อหน้า) คำว่า อยู่ใต้รัฐธรรมนูญหายไป คำว่า 4-5 ย่อหน้า) คำว่า "อยู่ใต้รัฐธรรมนูญ" หายไปคำว่า หายไป มีมาตรา 3 หายไปมีมาตรา 3 ผู้ใดจะละเมิดมิได้รวมถึงใช้คำว่า พระราชอำนาจในที่ต่างๆ (และเปลี่ยนจากคำว่า กษัตริย์เป็น พระมหากษัตริย์”) ผู้ใดจะละเมิดมิได้ "รวมถึงใช้คำว่า" พระราชอำนาจ "ในที่ต่างๆ (และเปลี่ยนจากคำว่า" กษัตริย์ "เป็น" พระมหากษัตริย์ ")

เพราะคณะราษฎรก็ต้องการ ปรองดองแต่สุดท้าย ฝ่ายกษัตริย์นิยมไม่ยอมปรองดองด้วย พระยามโนฯ ทำรัฐประหารเงียบ งดใช้รัฐธรรมนูญ พระยาพหลฯ เพราะคณะราษฎรก็ต้องการ "ปรองดอง" แต่สุดท้ายฝ่ายกษัตริย์นิยมไม่ยอมปรองดองด้วยพระยามโนฯ ทำรัฐประหารเงียบงดใช้รัฐธรรมนูญพระยาพหลฯ แล้วก็เกิดกบฎบวรเดช แล้วก็เกิดกบฎบวรเดช พวกหัวโจกกบฎถูกประหารบ้าง ถูกจับเข้าคุก ส่งไปอยู่เกาะตะรุเตา พวกหัวโจกกบฎถูกประหารบ้างถูกจับเข้าคุกส่งไปอยู่เกาะตะรุเตา



อุดมการณ์ 2490
รัฐธรรมนูญฉบับแรก 2475 สะท้อนอุดมการณ์คณะราษฎรชัดเจน เพราะร่างไว้ตั้งแต่ก่อนก่อการ ชัดเจนว่าไม่ต้องการ ล้มเจ้า รัฐธรรมนูญฉบับแรก 2475 สะท้อนอุดมการณ์คณะราษฎรชัดเจนเพราะร่างไว้ตั้งแต่ก่อนก่อการชัดเจนว่าไม่ต้องการ "ล้มเจ้า" เป็นประมุขสูงสุด ไม่ต้องมีอำนาจและไม่ต้องรับผิดชอบ เป็นประมุขสูงสุดไม่ต้องมีอำนาจและไม่ต้องรับผิดชอบ

แต่พวกนิยมเจ้าตอนนั้นไม่พอใจ เพราะ 2475 ล้างบางอำนาจของพระบรมวงศานุวงศ์ จึงก่อกบฎบวรเดช จนถูกปราบปรามราบคาบ แต่พวกนิยมเจ้าตอนนั้นไม่พอใจเพราะ 2475 ล้างบางอำนาจของพระบรมวงศานุวงศ์จึงก่อกบฎบวรเดชจนถูกปราบปรามราบคาบ

หลัง ร.7 สละราชสมบัติ หลังร .7 สละราชสมบัติ จึงอัญเชิญในหลวงรัชกาลที่ 8 กลับมาครองราชย์ ทั้งที่ตอนนั้น จึงอัญเชิญในหลวงรัชกาลที่ 8 กลับมาครองราชย์ทั้งที่ตอนนั้น

แต่ความขัดแย้งระหว่าง อ.ปรีดีกับจอมพล ป.ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ อ.ปรีดีก่อตั้งเสรีไทย หันไปร่วมมือกับพวกกษัตริย์นิยม แต่ความขัดแย้งระหว่างอ. ปรีดีกับจอมพลป. ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่อ. ปรีดีก่อตั้งเสรีไทยหันไปร่วมมือกับพวกกษัตริย์นิยม ซึ่งก็มาปล่อยในสมัยรัฐบาลนายควง อภัยวงศ์ ที่ อ.ปรีดีหนุนหลังในปี 2488 ซึ่งก็มาปล่อยในสมัยรัฐบาลนายควงอภัยวงศ์ที่อ. ปรีดีหนุนหลังในปี 2488

เมื่อเกิดกรณีสวรรคต ที่ท่านถูกตะโกนกล่าวหาในโรงหนัง (ยิ่งกว่าผังล้มเจ้า) พวกกษัตริย์นิยม พรรคประชาธิปัตย์ ร่วมมือกับทหาร นำโดยปู่และพ่ออาจารย์โต้ง ทำรัฐประหาร 2490 ฉีกรัฐธรรมนูญ 2489 ซึ่งเป็นประชาธิปไตยที่สุด เมื่อเกิดกรณีสวรรคตที่ท่านถูกตะโกนกล่าวหาในโรงหนัง (ยิ่งกว่าผังล้มเจ้า) พวกกษัตริย์นิยมพรรคประชาธิปัตย์ร่วมมือกับทหารนำโดยปู่และพ่ออาจารย์โต้งทำรัฐประหารฉีกรัฐธรรมนูญ 2490 2489 ซึ่งเป็นประชาธิปไตยที่สุด 2490 2490

ซึ่งเป็นครั้งแรกที่กลับมามี อภิรัฐมนตรี ซึ่งเป็นครั้งแรกที่กลับมามี "อภิรัฐมนตรี" เลือกตั้งวุฒิสมาชิก (ใช้คำแปลกดี) "เลือกตั้ง" วุฒิสมาชิก (ใช้คำแปลกดี)

ซึ่งยังคงอยู่ในรัฐธรรมนูญ 2492 ฉบับถาวร ซึ่งยังคงอยู่ในรัฐธรรมนูญ 2492 ฉบับถาวร และประธานวุฒิสภาเป็นประธานรัฐสภา (พูดให้ชัดหน่อยนะครับว่า และประธานวุฒิสภาเป็นประธานรัฐสภา (พูดให้ชัดหน่อยนะครับว่า มีผู้สำเร็จราชการแผ่นดินคือ กรมขุนชัยนาทนเรนทร รังสิต มีผู้สำเร็จราชการแผ่นดินคือกรมขุนชัยนาทนเรนทรรังสิต

รัฐบาลจอมพล ป.ถูกวุฒิสภา รัฐบาลจอมพลป. ถูกวุฒิสภา ขัดแข้งขัดขาจนทำงานไม่ได้ จอมพล ป.จึงทำรัฐประหารตัวเองเมื่อปี 2494 และประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 2495 ซี่งเอา 2475 มาผสมกับ 2492 แม้ยังมีองคมนตรี ขัดแข้งขัดขาจนทำงานไม่ได้จอมพลป. จึงทำรัฐประหารตัวเองเมื่อปี 2494 และประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 2495 ซี่งเอา 2475 มาผสมกับ 2492 แม้ยังมีองคมนตรี

กระนั้นรัฐธรรมนูญ 2492 กระนั้นรัฐธรรมนูญ 2492 คือยังมีองคมนตรี และสร้างความคลุมเครือในการอ้าง พระราชอำนาจ คือยังมีองคมนตรีและสร้างความคลุมเครือในการอ้าง "พระราชอำนาจ"

รัฐธรรมนูญ 2492 ยังเป็นฉบับแรกที่มีมาตรา 2 ว่า รัฐธรรมนูญ 2492 ยังเป็นฉบับแรกที่มีมาตรา 2 ว่า มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขซึ่งก็ใช้ต่อกันมาเรื่อยๆ จนปี 2534 จึงกำเนิดคำว่า มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข "ซึ่งก็ใช้ต่อกันมาเรื่อย ๆ จนปี 2534 จึงกำเนิดคำว่า

ก็ไม่ใช่นะครับ เพราะอย่างที่ยกให้เห็นแล้ว มาตรา 3 ของ 2475 ฉบับแรก ก็ไม่ใช่นะครับเพราะอย่างที่ยกให้เห็นแล้วมาตรา 3 ของ 2475 ฉบับแรก หรือ 2475 ฉบับ 10 ธันวาคม ก็บัญญัติตั้งแต่มาตรา 1 หรือ 2475 ฉบับ 10 ธันวาคมก็บัญญัติตั้งแต่มาตรา 1 จะแบ่งแยกมิได้มาตรา 2 จะแบ่งแยกมิได้ "มาตรา 2 พระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุข พระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุข

แค่ 2 มาตรานี้ก็ชัดเจนแล้ว เป็นราชอาณาจักร มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ฉะนั้น คำว่า แค่ 2 มาตรานี้ก็ชัดเจนแล้วเป็นราชอาณาจักรมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขฉะนั้นคำว่า มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขจึงเป็นมาตราฟุ่มเฟือยไม่จำเป็น แล้วรัฐธรรมนูญ 2534 มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข "จึงเป็นมาตราฟุ่มเฟือยไม่จำเป็นแล้วรัฐธรรมนูญ 2534

คุณเลือกข้างแล้ว คุณเลือกข้างแล้ว

ร.7 เตรียมพระราชทานรัฐธรรมนูญอยู่แล้ว แต่คณะราษฎรชิงสุกก่อนห่าม ร .7 เตรียมพระราชทานรัฐธรรมนูญอยู่แล้ว แต่คณะราษฎรชิงสุกก่อนห่าม

ความจริงคือรัฐธรรมนูญของ ร.7 ความจริงคือรัฐธรรมนูญของร .7

ตลกนะครับ 80 ปีผ่านไป ยังมีคนกลับไปเรียกร้อง นายกพระราชทาน ตลกนะครับ 80 ปีผ่านไปยังมีคนกลับไปเรียกร้อง "นายกพระราชทาน"

ถ้าเราดูแกนความคิดของพวกพันธมิตร ผ่านชัยอนันต์ สมุทวณิช กับปราโมทย์ นาครทรรพ จะเห็นได้ชัดเจนจากหนังสือ ราชประชาสมาสัยของปราโมทย์ ถ้าเราดูแกนความคิดของพวกพันธมิตรผ่านชัยอนันต์สมุทวณิชกับปราโมทย์นาครทรรพจะเห็นได้ชัดเจนจากหนังสือ "ราชประชาสมาสัย" ของปราโมทย์ โดยใช้พระราชอำนาจต่างๆ อย่างเป็นระบบตามลัทธิรัฐธรรมนูญ โดยใช้พระราชอำนาจต่างๆอย่างเป็นระบบตามลัทธิรัฐธรรมนูญ "

และเป็นอุดมการณ์ 2 แนวทางที่ต่อสู้กันอยู่ขณะนี้ และเป็นอุดมการณ์ 2 แนวทางที่ต่อสู้กันอยู่ขณะนี้ พ้นไปจากการต่อสู้ทางการเมือง หรือการกำหนดแนวบริหาร การพัฒนาประเทศ ทั้งปวง พ้นไปจากการต่อสู้ทางการเมืองหรือการกำหนดแนวบริหารการพัฒนาประเทศทั้งปวง ประชาชนยังโง่อยู่ ต้องดึงพระมหากษัตริย์มา มีส่วนร่วม ประชาชนยังโง่อยู่ต้องดึงพระมหากษัตริย์มา "มีส่วนร่วม"

80 ปียังต่อสู้กันไม่จบ 80 ปียังต่อสู้กันไม่จบ อ.ปรีดีและคณะราษฎรมาอย่างไร เมื่อถึงทางแยก พวกท่านก็เลือกแล้ว อ. ปรีดีและคณะราษฎรมาอย่างไรเมื่อถึงทางแยกพวกท่านก็เลือกแล้ว

จะปากแข็งไม่ยอมรับกันอย่างไรก็ได้ จะด่าว่านักการเมือง แกนนำ นปช.ว่าใช้คณะราษฎรเป็นเครื่องมือ ก็ตามสบาย แต่ที่แน่ๆ คือ จะปากแข็งไม่ยอมรับกันอย่างไรก็ได้จะด่าว่านักการเมืองแกนนำนปช. ว่าใช้คณะราษฎรเป็นเครื่องมือก็ตามสบาย แต่ที่แน่ ๆ คือ ขณะที่มวลชนเสื้อเหลืองของพิภพ สุริยะใส เที่ยวด่าคณะราษฎรกันอึงมี่ ว่ากำเริบเสิบสาน ชิงสุกก่อนห่าม ประชาชนไม่พร้อม ประเทศชาติเลยลำบาก เพราะนักการเมืองโกง ซื้อเสียง ฯลฯ ขณะที่มวลชนเสื้อเหลืองของพิภพสุริยะใสเที่ยวด่าคณะราษฎรกันอึงมี่ว่ากำเริบเสิบสานชิงสุกก่อนห่ามประชาชนไม่พร้อมประเทศชาติเลยลำบากเพราะนักการเมืองโกงซื้อเสียง ฯลฯ

พวกเขาจะมายกย่องหรือมาด่า พวกเขาจะมายกย่องหรือมาด่า

ใบตองแห้ง ใบตองแห้ง

23 มิ.ย.55 23 มิ.ย. 55

...................................... ......................................